วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
อังกฤษ
ดนตรี-นาฏศิลป์
นาฏยศัพท์
ภาษากาย
ท่าอาย = หงายมือขึ้นเอามือไว้ที่ข้างแก้ม
ท่ายิ้ม = ทำมือจีบและเอาไว้ที่มุมปาก
ท่าที่โน่น = ชี้นิ้วสูงระดับไหล่ มืออีกข้างจีบไว้ข้างหลัง
ท่ารัก = เอามือไคว้กันไว้ที่ระดับอก
จีบหงาย = ทำมือหงายขึ้นและเอานิ้วโป้งและนิ้วชี้ติดกัน
จีบคว่ำ = ทำคล้ายเหมือนกับจีบหงายแต่คว่ำมือลง
ลูกเสือ-เนตรนารี
เงื่อน
เงื่อนพิรอด
เป็นเงื่อนที่ใช้ประโยชน์มากในการดำเนินชีวิตประจำวันของเรา โดยเฉพาะการต่อปลายเชือก 2 ข้างเข้าด้วยกัน
เงื่อนนี้จะแน่นมากแต่ก็แก้ออกได้ง่าย
เงื่อนขัดสมาธิ
ส่วนเส้นเล็กเป็นเส้นพันขัด
เงื่อนบ่วงสายธนู
เงื่อนบ่วงสายธนู เป็นเงื่อนที่ไม่รูด ไม่เลื่อนเข้าไปรัดกับสิ่งที่ผูก ตัวบ่วงจะคงที่
เงื่อนประมง
เงื่อนประมงเป็นเงื่อนที่ใช้สำหรับต่อเชือกที่มีขนาดเดียวกัน ซึ่งเป็นเงื่อนที่รู้จักกันทั่วไปอีกชื่อหนึ่งว่า
เงื่อนหัวล้านชนกัน
เงื่อนผูกซุง
ลักษณะพิเศษ คือ ผูกง่าย แก้ง่าย แต่เป็นเงื่อนที่ยิ่งดึงยิ่งแน่น ยิ่งดึงแรงมากเท่าไรก็จะยิ่ง
แน่นมากขึ้นเท่านั้น
เงื่อนผูกรั้ง
เงื่อนผูกรั้งเป็นเงื่อนที่ใช้ผูกยึดกับสิ่งอื่น ซึ่งเป็นเงื่อนที่มีลักษณะพิเศษ คือ สามารถปรับ
ให้ตึงหรือหย่อนได้ตามความต้องการ
ศิลปะ
ประเภทงานทัศน์สิลป์จำแนกออกได้ 4 ประเภท ดังนี้
จิตรกรรม - สถาปัตยกรรม
:ภาพวาด :แบบปิด แบบเปิด
ประติมากรรม - ภาพพิมพ์
:แบบนูนต่ำ แบบนูนสูง :พิมพ์ภาพนูน พิมพ์ร่องลึก
แบบลอยตัว พิมพ์พื้นราบ พิมพ์ฉากพิมพ์
วรรณะสีแบ่งออกได้เป็น 2 วรรณะ คือ
วรรณะสีอุ่น (วรรณะร้อน)
สีเหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง สีม่วงแดง สีม่วง (ครึ่งหนึ่ง) จะอยุ่ใน
วรรณะสีอุ่น
วรรณะสีเย็น (วรรณะเย็น)
สีเหลือง สีเขียวเหลือง สีเขียว สีเขียวน้ำเงิน สีน้ำเงิน สีม่วงน้ำเงิน สีม่วง (ครึ่งหนึ่ง)
จะอยู่ในวรรณะสีเย็น
วิทย์
โรเบิร์ตฮุค (Robest Hooke) เป็นผู้ค้นพบเซลล์ในไม้คอร์กเป็นช่องเล็กๆคล้ายรังผึ้ง
ชไลเดน (Schleiden) และชวาน (schw ann) ร่วมกันก่อตั้งทฤษฏีของเซลล์ สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
ประกอบด้วยเซลล์และเซลล์ที่ประกอลกันเป็นสิ่งมีชีวิต อาจมีเพียงเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ก็ได้
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว คือ เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื้อหุ้มนิวเคลียส สารในนิวเคลียสกระจาย
อยู่ทั่วเซลล์โครงสร้างเป็นแบบง่ายพบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เช่น อะมีบา พารามีเซียส ไดอะตอม
เป็นโพร์โต้แบบเล็ก
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ เช่น
สัตว์และพืช เช่น ไฮดรา พลานาเรียส ไส้เดือน
1.ผนังเซลล์อยู่ในเซลล์ (Cell wall) เป็นเนื้อเยื่อหุ้มผิวด้านนอก เป็นสารพวกเซลล์
ลูโลส ทำหน้าที่เพิ่มความแข้งแรงป้องกันอันตรายแก่พืช
2.เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เป็นเยื่อบางๆ ประกอบด้วยโปรตีนและไขมัน ทำหน้าที่
ควบคลุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์โดยรูเล็กๆ เพื่อให้สารบางอย่างเข้าออก
และไม่ให้สารบางอย่างเข้าออกทัดมาจากผนังเซลล์ (เรียกว่าเนื้อเยื่อเลือกผ่าน)
3.นิวเคลียส(Nีucleas)อยู่ตรงกลางเซลล์ ประกอบด้วย นิวคลีโอลัสและร่างแหโครมา
ทิน **เซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มีนิวเคลียส
4.เยื่อหุ้มนิวเคลียส ( Nucleas membrane) เป็นเยื่อบางๆล้อมรอบนิวเคลียสเยื่อนี้ยอม
ให้สารบางชนิดผ่านและไม่ยอมให้สารบางชนิดผ่าน จึงมีคุณสมบัติเป็นเนื้อเยื่อหุ้มผ่าน
(semipermeable membrane)
5.โพรโทพลาซึม (Pro to plasm) ภายในเนื้อเยื่อมีลักษณะเป็นของเหลว เรียกว่า
ไซโทพลาซึมและส่วนประกอบอื่นๆ เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Orgamelles) ได้แก่นิวเคลียสและ
ไมโทคอนเดรีย ถ้าในเซลล์พืชจะพบโคโรพลา และแววคิลโอมากขึ้น
6.ไซโทพลาซึม (Cgtoplasm) เป็นส่วนประกอบของเหลที่อยู่ภายในเซลล์ถัดจาก
เยื่อหุ้มเซลล์์และอยู่รอบๆนิวเคลียส ประกอบด้วยน้ำและสารที่ละลายน้ำได้ เช่น โปรตีน
สัตว์และพืช เช่น ไฮดรา พลานาเรียส ไส้เดือน
1.ผนังเซลล์อยู่ในเซลล์ (Cell wall) เป็นเนื้อเยื่อหุ้มผิวด้านนอก เป็นสารพวกเซลล์
ลูโลส ทำหน้าที่เพิ่มความแข้งแรงป้องกันอันตรายแก่พืช
2.เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เป็นเยื่อบางๆ ประกอบด้วยโปรตีนและไขมัน ทำหน้าที่
ควบคลุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์โดยรูเล็กๆ เพื่อให้สารบางอย่างเข้าออก
และไม่ให้สารบางอย่างเข้าออกทัดมาจากผนังเซลล์ (เรียกว่าเนื้อเยื่อเลือกผ่าน)
3.นิวเคลียส(Nีucleas)อยู่ตรงกลางเซลล์ ประกอบด้วย นิวคลีโอลัสและร่างแหโครมา
ทิน **เซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มีนิวเคลียส
4.เยื่อหุ้มนิวเคลียส ( Nucleas membrane) เป็นเยื่อบางๆล้อมรอบนิวเคลียสเยื่อนี้ยอม
ให้สารบางชนิดผ่านและไม่ยอมให้สารบางชนิดผ่าน จึงมีคุณสมบัติเป็นเนื้อเยื่อหุ้มผ่าน
(semipermeable membrane)
5.โพรโทพลาซึม (Pro to plasm) ภายในเนื้อเยื่อมีลักษณะเป็นของเหลว เรียกว่า
ไซโทพลาซึมและส่วนประกอบอื่นๆ เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Orgamelles) ได้แก่นิวเคลียสและ
ไมโทคอนเดรีย ถ้าในเซลล์พืชจะพบโคโรพลา และแววคิลโอมากขึ้น
6.ไซโทพลาซึม (Cgtoplasm) เป็นส่วนประกอบของเหลที่อยู่ภายในเซลล์ถัดจาก
เยื่อหุ้มเซลล์์และอยู่รอบๆนิวเคลียส ประกอบด้วยน้ำและสารที่ละลายน้ำได้ เช่น โปรตีน
เทคโน
เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อช่วยมนุษย์ทำงานในการคำนวณ และ
จำข้อมูลทั้งตัวเลขและตัวอักษร ได้อัตโนมัติตามคำสั่ง
หน่วยรับเข้า = แป้น เมาส์ หรือโทรศัพท์เพราะสั่งานด้วยมือ
หน่วยความจำ
หน่วยกลาง คือ หน่วยครบคุม =
หน่วยความจำรอง
หน่วยแสดงผล
= คอมพิวเตอร์เห็นภาพ
= เรื่องปิ้นปิ้นงาน
= เสียง
สุขศึกษา
วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ความรู้ ภาษาไทย
สระผสมมี 6 เสียง ดังนี้
หลักจำสระเสียงยาว: เสือ,กลัว,เมีย
สระเสียงสั้น: เอียะ,เอือะ,อัวะ
สระเกิน
หลักจำ: จำ,ใจ,ไป,เอา,ฤ,ฦ
ชนิดของคำมี 7 ชนิด
1.คำนาม 2.คำสรรพนาม
3.คำกริยา 4.คำวิเศษณ์
5.คำบุพบท 6.คำสันทาน
7.คำอุทาน
คำนามมี 5 ชนิด
1. นามทั่วไป (สามานยนาม) ใช้เรียกชื่อคน,สัตว์,สิ่งของ,สถานที่
2.นามเฉพาะ (วิสามานยนาม) เป็นคำนามที่ใช้เฉพาะคน,สัตว์,สิ่งของ,สถานที่ เช่น จังหวัด
กรุงเทพมหานคร,โรงเรียนดรุณาราชบุรี,โรงเรียนเบญจมราชูทิศ
3.นามหมวดหมู่ (สมุหนาม) ใช้บอกหมวดหมู่ เช่น เหล่าลูกเสือ,โขลงช้าง,ฝูงลิง
4.นามบอกอาการหรือนามบอกความเป็นอยู่ (อาการนาม) นามที่สร้างขึ้นจากคำกริยา หรือ
คำวิเศษณ์ เช่น ความดี,ความสุข,การพูด,การเดิน,การแข่ง,ความคิด,การวิ่ง,การนั่ง,การยืน
5.นามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) นามที่ใช้บอกคำนามทั่วไปหักอยู่หลังจำนวน เช่น
หนังสือ 3 เล่ม,สักวา 2 วง,เสื่อ 1 ผืน,หมอน 1 ใบ
คำสรรพนาม
1. บุรุษสรรพนาม คือ คำ สรรพนามที่ใช้แทนผู้พูด
2. ประพันธสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามและใช้เชื่อมประโยคทำหน้าที่เชื่อมประโยค
3.นิยมสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามชี้เฉพาะเจาะจงหรือบอกกำหนดความให้ผู้พูดกับผู้ฟัง
เข้าใจกันได้แก่คำว่า นี่ นั่น โน่น
4.อนิยมสรรพนาม คือ สรรพนามใช้แทนนามบอกความไม่ชี้เฉพาะเจาะจงที่แน่นอนลงไป ได้แก่คำว่า
อะไร ใคร ไหน ได บางครั้งก็เป็นคำซ้ำๆ เช่น ใครๆ อะไรๆ ไหนๆ
5.วิภาคสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนาม
6.ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามที่เป็นคำถาม
ความรู้ สังคม
เศรษฐศาสตร์ = การผลิต/ผู้บริโภค
= เศรษฐกิจพอเพียง
= การเงิน
= การออม
= เศรษฐกิจ
มีจำกัด
= ทรัพยากรธรรมชาติ
ความต้องการไม่จำกัด
หลักการบริโภคที่ดี
= 1.ความจำเป็น - การดำเนินชีวิต
= 2.ความปลอดภัย/ประโยชน์ - คุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไปหรือไม่
= ความประหยัด - วื้อหลายชิ้นอาจจะประหยัดกว่า
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค
1.ราคา
} มาคู่กัน
2.รายได้
3.รสนิยม - หน้าตาทางสังคม
4.โฆษณา - การชักจุงได้ง่ายที่สุด
อุปสงค์ - ผู้บริโภค
กฎของอุปสงค์ (เป็นไปตามตรงกันข้าม)
ถ้าราคาสินค้าต่ำ - ความต้องการสูง
--------- สูง - --------- ต่ำ
กฎของอุปทาน - ผู้ขาย (เป็นไปในทิศทางเดียวกัน)
ถ้าสินค้าต่ำ - ความต้องการต่ำ
--------- สูง - --------- สูง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
คริสต์ศาสนา
พระบัญญัติ 10 ประการ 1.จงนับถือพระเจ้าองค์เดียว 2.อย่าเอ่ยพระนามพระเจ้าโดนไม่สมเหตุ ...
-
เงื่อน เงื่อนพิรอด เป็นเงื่อนที่ใช้ประโยชน์มากในการดำเนินชีวิตประจำวันของเรา โดยเฉพาะการต่อปลายเชือก 2 ข้างเ...
-
พินอินภาษาจีน b:ปอ p:พอ m:มอ f:ฟอ d:เตอ t:เทอ n:เนอ l:เลอ g:เกอ k:เคอ h:เฮอ สระเดี่ยว a:อา...